วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ศาสนาสำคัญในประเทศไทย

         พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีความผูกพันเกี่ยวข้อกับคนไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย และเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือจนกว่าไว้ว่าเป็นศาสนาประจำชาติ หลักคำสอนมอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตคนไทยได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตในหลา อ่านเพิ่มเติม

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

ความหมายของศาสนา  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า “ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ “ศาสนาจึงมีความหมายในลักษณะต อ่านเพิ่มเติม

หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

หน้าที่ชาวพุทธ   พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ ๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย จนแยกกันไม่ออก ความเจริญหรือความเลื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทย พวกเราชาวพุทธจึงมีหน้าที่จะทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป หน้าที่สำคั อ่านเพิ่มเติม

พุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง

      แม้พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปเป็นเวลากว่า 2,500 ปีแล้ว แต่พระคุณของพระองค์ที่มีต่อชาวโลกก็ยังคงปรากฏอยู่ ชาวพุทธจึงควรระลึกถึงและประพฤติปฏิบัติตามพระคุณของพระองค์0เพื่อให้เกิดผลดีแก่ตนและสังคมส่วนรวม พระมหากัจจายนะ พระภัทรากัจจานาเถรี และนางขุช  ชุตตรา มีประวัติ ผลงาน และคุณธรรมที่มีคุณค่าค อ่านเพิ่มเติม

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

             การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนาในขณะที่สวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบื้องต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่กับปัจจุบันเสมอ การไ อ่านเพิ่มเติม

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎก  เป็นคัมภีร์ที่บรรจุคำสอนของพระพุทธศาสนาไว้เป็นหมวดหมู่  ซึ่งพุทธศาสนิกชนทุกคนควรศึกษาเพื่อนำหลักธรรมมาเป็นหลักในการดำเนินช อ่านเพิ่มเติม

วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาพระรัตนตรัย คือแก้วอันประเสริฐ (ของชาวพุทธ) 3 ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์พระพุทธ     คือ ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตามพระธรรม     คือ  คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์     คือ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วสอนผู้อื่นให้ประพฤติปฏิบัติตาม
ความสำคัญของพระรัตนตรัย       พระรัตนตรัยนอกจากจะเป็นแก้วอันประเสริฐของชาวพุทธแล้ว พระรัตนตรัยยังเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่ดีที่สุดของชาวพุทธ ในชีวิตประจำวันของชาวพุทธจะเกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัยอยู่เสมอ เช่น ตื่นนอนตอนเช้าสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย ก่อนไปทำงานนิยมไหว้พระก่อนออกจากบ้านเมื่อไปถึงที่ทำงานนิยมไหว้พระประจำสถานที่ทำงาน และไหว้พระรัตนตรัย ก่อนนอนทุกคืน นักเรียนก็เช่นเดียวกัน ก่อนเข้าเรียนหลังเคารพธงชาตินักเรียนจะต้องสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยก่อนเล อ่านเพิ่มเติม

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันที่ชาวพุทธทั่วโลกยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับพระรัตนตรัย และเหตุการณ์สำคัญอื่น ๆ ในรอบหนึ่งปีกำหนดไว้ ๖ วัน คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และวั  อ่านเพิ่มเติม

พุทธประวัติและชาดก

          ชาติตระกูล  มีพระนามเดิมว่า สิทธัตถะเป็นราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กับพระนางสิริมหามายา”  ประสูติ ที่สวนลุมพินีวัน ณ ใต้ต้นสาละ (ปัจจุบันคือ ต.รุมมินเด ประเทศเนปาล) พราหมณ์ทั้ง 8 ได้ทำนายว่า เจ้าชายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษ คือ ถ้าดำรงตนในฆราวาสจะได้เป็นจักรพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก แต่ โกณฑัญญะพราหมณ์ผู้อายุน้อยที่สุดในจำนวนนั้น ยืนยันว่า จะได้ออกบวชและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแน่นอน หลังประสูติได้ 7 วัน พระมารดาสิ้นพระชนม์ จึงอยู่ในความดูแลของพระนางปชาบดีโคตมี ทรงเล่าเรียนจบระดับสูงของการศึกษาทางโลก คือ ศิลปศาสตร์ถึง 18 ศาสตร์ ในสำนักครูวิศวามิตร  พระบิดาไม่ประสงค์ให้เป็นศาสดา จึงพยายามให้พบแต่ความสุขทางโลก เช่น สร้างปราสาท 3 ฤดู และเมื่ออายุ 16 ปี ได้ให้อภิเษกกับนางพิมพาหรือยโสธรา เมื่อมีพระชนมายุ 29 ปี พระนางพิมพาก็ใ อ่านเพิ่มเติม


ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล
 พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการคือ
 1. ทุกข์ (ความไม่สบายกายและใจ) สอนว่า    ชีวิต และโลก นี้มีปัญหาอะไรบ้าง 
 2. สมุทัย (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์) สอนว่า  “ ปัญหาต่าง ๆ  ที่เกิดขึ้นมีสาเหตุ  มิได้เกิดขึ้นมาลอย ๆ 
 3. นิโรธ (วิธีการดับทุกข์) สอนว่า   มนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง ที่จะสามารถแก้ปัญหาได้เอง 
 4. มรรค (แนวทางการปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์) สอนว่า การแก้ปัญหาต้องใช้ปัญญา (ความรู้และความเพียรพยายาม)
อริยสัจ 4 เป็นหลักความจริงที่มีหลักการเป็นที่ยอมรับสอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นหลักส อ่านเพิ่มเติม